ป อาญา 390 / ป อาญา 3.0 Unported

กอง-บรหาร-สาธารณสข

มาตรา 2(4) ผู้มีสิทธิยื่นคำร้องตาม ป. มาตรา 44/1 ต้องพิจารณาตามที่กฎหมายกำหนดไว้และข้อเท็จจริงในขณะที่ยื่นคำร้องว่าเป็นผู้เสียหายหรือไม่ เมื่อบทบัญญัติดังกล่าวกำหนดให้ผู้เสียหายเท่านั้นที่ยื่นคำร้องได้และขณะยื่นคำร้องจำเลยที่ 2 ไม่ใช่ผู้เสียหาย จำเลยที่ 2 จึงไม่มีสิทธิยื่นคำร้องขอให้จำเลยที่ 1 ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามบทบัญญัติดังกล่าว คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6576/2553 ป. มาตรา 39(4), 44/1 ในคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา แม้ผู้เสียหายจะเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการและยื่นคำร้องขอให้จำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตาม ป. มาตรา 44/1 ก็ตาม เมื่อจำเลยถึงแก่ความตาย สิทธินำคดีอาญามาฟ้องของโจทก์และโจทก์ร่วมย่อมระงับไปตาม ป. มาตรา 39 (1) และคำขอให้ใช้ค่าสินไหมทดแทนย่อมตกไปด้วย จึงต้องจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความ

ป อาญา 334

วิธีการที่จะดำเนินการของเจ้าหน ้าที่จะเกี่ยวโยงกับมาตรา 37 อนุมาตรา 2 3 4 2. เจ้าพนักงานถ้าเห็นผู้เสียหายไม ่ควรได้รับโทษจำคุก ก็เปรียบเทียบปรับได้ 3. เมื่อผู้เสียหายชำระค่าปรับในเว ลาไม่เกิน 15 วัน คดีเป็นอันเสร็จเด็ดขาด ฟ้องอีกไม่ได้ 4. คดีมีค่าทดแทน(คดีที่ผู้เสียหาย ต้องได้ค่าทดแทนจากผู้กระทำความ ผิด) ถ้าผู้เสียหายและผู้ต้องหายินยอ มให้เจ้าหน้าที่ปรับ ให้เจ้าหน้าที่กะจำนวนให้ตามที่ คู่ความตกลงกัน ถ้าผู้กระทำผิดไม่ชำระค่าทดแทน ผู้เสียหายก็ต้องไปฟ้องคดีแพ่งต ่างหาก เพราะถือว่าคดีอาญาเลิกกันแล้ว 2411/ 2527 ค้นไม่พบ (กรณีค่าทดแทนที่ใช้ค่าเสียหายกัน กำหนดและใช้ค่าเสียหายได้) 5. คดีอาญาเลิกกันเพราะเปรียบเทียบ ปรับ ก็ต่อเมื่อพนักงานอัยการให้ความ เห็นชอบตาม 142 วรรค 4 จึงถือว่าคดีเลิกกันตามมาตรา 37 และสิทธิฟ้องคดีอาญาระงับตามมาต รา 39 อนุมาตรา 3 แต่ถ้าเป็นการเปรียบเทียบปรับขอ งบุคคลหรือคณะกรรมการตามกฏหมายพ ิเศษอื่นไม่ต้องส่งให้พนักงานอั ยการเห็นชอบ

ป อาญา 30 juin

มาตราสำคัญ แพ่ง อาญา วิอาญา วิแพ่ง การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย เนติ: ฎีกา การขอค่าสินไหมทดแทนตาม ป.วิ.อ.มาตรา 44/1

2522มาตรา 43(4), 157 ซึ่งเป็นความผิดที่มีโทษเบากว่า ความผิดฐานขับรถในขณะเมาสุราเพื ่อให้ความผิด ทั้งหมดเลิกกันตามประมวลกฎหมายว ิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 37ได้ แม้พนักงานสอบสวนจะเปรียบเทียบป รับจำเลยไปแล้วก็ไม่ชอบ คดีไม่เลิกกันศาลชั้นต้นจึงมีอำ นาจลงโทษจำเลยในความผิดฐานขับรถ ในขณะเมาสุรา ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ. 2522 มาตรา 43(2), 160 วรรคสาม ตามฟ้องได้ 2.

ป อาญา 326

Written by ทนายแมน on 4 March 2020. Posted in ประมวลกฎหมายอาญา. หาทนาย จ้างทนาย เกี่ยวกับ ผู้ใดกระทำโดยประมาทและการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน จะทำอย่างไร? มาตรา 390 ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ [อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 22) พ. ศ. 2558] ป. อ. มาตรา 390

ป.อ. มาตรา 390 Archives - หาทนาย หาทนายแมน: แนะนำที่ปรึกษาด้านกฏหมายและทนายความที่ตรงไปตรงมาเชื่อถือและพึ่งพาได้ เพื่อทุกคน

  1. ป.อ. มาตรา 390 Archives - หาทนาย หาทนายแมน: แนะนำที่ปรึกษาด้านกฏหมายและทนายความที่ตรงไปตรงมาเชื่อถือและพึ่งพาได้ เพื่อทุกคน
  2. Soul eater สอบ anime
  3. ประมวมลกฎหมายอาญา มาตรา 300| ทนายความเชียงใหม่ ปรึกษากฎหมายฟรี โทร0957788803

มาตรา 390  แห่งประมวลกฎหมายอาญา - หาทนาย หาทนายแมน: แนะนำที่ปรึกษาด้านกฏหมายและทนายความที่ตรงไปตรงมาเชื่อถือและพึ่งพาได้ เพื่อทุกคน

คำพิพากษาฎีกาที่น่าสนใจเรื่อง การขอค่าสินไหมทดแทน มาตรา 44/1 คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 17584/2555 ป. วิ. อ. มาตรา 44/1 วรรคหนึ่ง ผู้ตายสมัครใจทะเลาะวิวาทกับจำเลย จ. มารดาผู้ตายจึงไม่ใช่เป็นผู้เสียหายโดยนิตินัย ที่จะมีสิทธิยื่นคำร้องขอให้บังคับจำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตาม ป. มาตรา 44/1 วรรคหนึ่งได้ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 11224/2555 ป. มาตรา 43, 44/1 ป. พ. มาตรา 440 การที่สลากกินแบ่งรัฐบาลถูกรางวัลที่หนึ่งและจำเลยทั้งสองร่วมกันไปรับเงินรางวัลมาแล้ว ย่อมทำให้โจทก์ร่วมหมดโอกาสที่จะได้รับเงินรางวัล เท่ากับว่าโจทก์ร่วมต้องสูญเสียเงินจำนวนนั้นไปเนื่องจากการกระทำความผิดของจำเลยทั้งสองโดยตรง โจทก์จึงมีสิทธิขอให้จำเลยทั้งสองร่วมกันคืนเงินหรือใช้เงินเท่ากับจำนวนเงินรางวัลที่หนึ่งให้แก่โจทก์ร่วมได้ตาม ป. มาตรา 43 แต่ได้ความว่าในการขอรับเงินรางวัล จำเลยทั้งสองได้รับเงินมาเพียง 3, 980, 000 บาท เพราะต้องเสียอากรแสตมป์ 20, 000 บาท จำเลยทั้งสองต้องคืนหรือใช้เงินจำนวนเท่าที่ได้รับมาเท่านั้น และโจทก์ร่วมซึ่งได้รับความเสียหายในทางทรัพย์สินอันเนื่องมาจากการกระทำความผิดของจำเลยทั้งสองย่อมมีสิทธิที่จะขอให้บังคับจำเลยทั้งสองใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ร่วม โดยเรียกดอกเบี้ยในจำนวนเงินที่ต้องใช้ตาม ป.

ป อาญา 30 septembre

2499 มาตรา 22 คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7147/2562 แม้โจทก์จะยื่นฟ้องจำเลยเฉพาะความผิดฐานประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายตาม ป. มาตรา 291 แต่โจทก์ก็บรรยายฟ้องว่า การกระทำของจำเลยเป็นเหตุให้ผู้ร้องได้รับอันตรายสาหัส ผู้ร้องจึงเป็นผู้เสียหายมีสิทธิเรียกร้องทางแพ่งฐานมูลละเมิดเรียกร้องให้จำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพราะเหตุได้รับอันตรายแก่ร่างกายโดยอาศัยมูลคดีอาญาตาม ป. มาตรา 44/1 และแม้คดีส่วนแพ่งของผู้ร้องจะขาดอายุความเนื่องจากไม่มีการฟ้องร้องดำเนินคดีอาญาแก่จำเลยในข้อหาประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัสตาม ป. มาตรา 300 ภายในอายุความสิบปีตาม ป. มาตรา 51 ประกอบ ป. มาตรา 448 วรรคสอง ตามที่จำเลยฎีกาก็ตาม แต่ ป. มาตรา 40 ก็บัญญัติว่า คำพิพากษาส่วนแพ่งต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ดังนั้น เมื่อจำเลยไม่ได้ยกปัญหาเรื่องอายุความขึ้นต่อสู้ในคำให้การ คดีจึงไม่มีประเด็นเรื่องอายุความ การที่ศาลชั้นต้นหยิบยกเอาอายุความมาเป็นเหตุยกคำร้องของผู้ร้องจึงไม่ชอบ ต้องห้ามตาม ป. มาตรา 193/29 ประกอบ ป. มาตรา 142 (5) และถือว่าเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาโดยชอบในศาลชั้นต้น ทั้งไม่เป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยที่จำเลยสามารถหยิบยกขึ้นในชั้นฎีกาได้

ป อาญา 334
  1. กรอง อากาศ ae100
  2. ดอก แหลม p 888 area code
  3. Amk 1000 mg ราคา 1000
  4. 3ce blushed kit ราคา