Polycythemia Newborn รักษา

การ-ทำ-นาดำ

title ช่วงวัยแรกเกิดเป็นช่วงที่คุณพ่อ คุณแม่ต้องใช้ความละเอียดอ่อนในการเลี้ยงดูอย่างสูงเพราะเป็นช่วงที่ร่างกายของเด็กยังพัฒนาไม่สมบูรณ์นัก ดังนั้นเราจึงต้องเรียนรู้ถึงความผิดปกติและอาการต่าง ๆ ที่เกิดกับลูกเรา เพื่อหาทางรับมือได้ถูกต้องหากเราต้องเจอกับปัญหาเหล่านั้น โรคที่ต้องระวังในเด็กแรกเกิด 1.

  1. โรคในเด็กแรกเกิด | โรงพยาบาลเปาโล - Paolo Hospital
  2. 2. Pathologic jaundice - โครงงานพัฒนาคุณภาพการพยาบาล

โรคในเด็กแรกเกิด | โรงพยาบาลเปาโล - Paolo Hospital

โรคทางเดินหายใจ เช่นจมูก ปอด เนื่องจากเด็กแรกเกิดที่เพิ่งออกมาจากครรภ์มารดาเป็นช่วงที่เปลี่ยนผ่านจากการอาศัยการดำรงชีวิตด้วยแม่มาเป็นตัวของตัวเอง ดังนั้นการทำงานของปอด หรือระบบหายใจอาจจะไม่เต็มที่นัก เรื่องของทางเดินหายใจจึงเป็นสิ่งที่แพทย์ต้องให้ความใส่ใจเป็นพิเศษ สำหรับเด็กคลอดปกติและอายุครรภ์ครบปัญหาเรื่องการหายใจจะไม่ค่อยน่ากังวลเท่าไหร่ แต่หากเป็นเด็กที่คลอดก่อนกำหนดหรืออายุครรภ์ไม่ถึง 36 สัปดาห์ก็จะต้องเฝ้าระวังเรื่องการทำงานของปอดเป็นพิเศษ 3. ภาวะตัวเหลือง ภาวะตัวเหลืองในเด็กทารกเกิดจาก สารเคมีที่เรียกว่า บิลิรูบิน (Bilirubin)เป็นสารสีเหลืองเกิดจากการแตกของเม็ดเลือดแดงมีอยู่ในเลือดสูงตับของทารกแรกเกิดที่ยังทำงานไม่สมบูรณ์นั้นไม่สามารถกำจัดไปได้หมด จึงส่งผลให้เด็กเกิดอาการตัวเหลืองซึ่งโดยมากมักจะเกิดกับเด็กทารกในช่วง2 -3 วันแรกของการคลอด ซึ่งโดยทั่วไปแล้วเด็กจะตัวเหลืองไม่เกิน 10 วัน แต่หากเด็กที่ตัวเหลืองมาก ๆ หรือ ตัวเหลืองในวันแรกที่คลอดออกมาและเหลืองขึ้นอย่างรวดเร็ว แพทย์จะเจาะเลือดและติดตามผล ซึ่งในบางรายหากตัวเหลืองมาก ๆ แพทย์จะใช้วิธีการส่องไฟเพื่อรักษาอาการตัวเหลือง 4.

  • Hold me tight แปล
  • Polycythemia newborn รักษา chart
  • อาการ ติด แอลกอฮอล์
  • กมนธิดา โรจน์ทวีนิธิ | BNK48 community | Fandom
  • คู้บอน 27 เส้นทาง
  • Polycythemia newborn รักษา คอร์ด
  • Polycythemia newborn รักษา 2
  • Polycythemia newborn รักษา เครื่องจักร
  • Polycythemia newborn รักษา icd 10 code
  • แบบ ทดสอบ passive voice
  • รีวิว Samsung Galaxy Buds 2 หูฟังไร้สายขนาดเล็ก ดีไซน์โค้งมน กระชับ ใส่สบาย พร้อมเสียงลำโพงไดนามิกระบบ 2 ทิศทาง - TOUCHPHONEVIEW
  • Polycythemia newborn รักษา images

2 มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้เพิ่มขึ้นจากภาวะต่างๆ เช่น ทารกที่ดูดนมได้น้อย ภาวะลำไส้อุดกั้น มีบิลิรูบินตกค้างในลำไส้จำนวนมากและดูดซึมกลับสู่ตับได้มากขึ้น 2. 3 ตับสามารถกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงเนื่องจากภาวะต่างๆ เช่น การขาดเอนไซม์บางชนิดแต่กำเนิด เช่น Gilbert syndrome หรือ Galactosemia ได้รับยาบางชนิด เช่น oxytocin ภาวะธัยรอยด์ในเลือดต่ำแต่กำเนิด มีการ conjugate ของบิริลูบินหรือขับถ่ายน้อยกว่าปกติ เช่น ท่อถุงน้ำดีอุดตัน ลำไส้อุดตัน hypothyriodism หรือได้รับยาที่แย่งจับ albumin ในเลือด ทำให้มีบิริลูบินในกระแสเลือดเพิ่มขึ้น เช่น ซัลโฟนาไมด์ ซาลิไซเลต 2. 4 ภาวะติดเชื้อในครรภ์ เช่น การติดเชื้อ Cytomegalovirus (CMV) / Toxoplasmosis / Rubella / Herpesvirus-hominis / Syphillis / Hepatitis 2. 5 ภาวะทารกคลอดก่อนกำหนด จะมีระดับ conjugated enzyme ในเลือดต่ำกว่าทารกคลอดครบกำหนด และเนื่องจากขนาดน้ำหนักตัวก็น้อยกว่า จึงทำให้ระดับบิลิรูบินที่ต้องการ การรักษาต่ำลงกว่าทารกคลอดครบกำหนด และทารกคลอดก่อนกำหนดมักมีภาวะหายใจลำบาก (Respiratory Distress Syndrome; RDS) 3. Breast milk jaundice พบประมาณร้อยละ 1 – 2 ในทารกแรกเกิดที่ได้รับนมมารดา ซึ่งพบว่าในน้ำนมมารดามีสารบางชนิดที่ทำให้ระดับบิริลูบินเพิ่มขึ้นมากกว่า 20 mg เนื่องจากสารดังกล่าวป้องกันการขับบิริลูบินออกทางลำไส้ซึ่งพบว่าทารกจะเริ่มมีอาการตัวเหลืองในวันที่ 4 – 7 และมีระยะเวลาของอาการประมาณ 3 -10 สัปดาห์ newborn การส่งเสริมพัฒนาการ Normal newborn

เป็นภาวะตัวเหลืองที่มากกว่าปกติ ซึ่งในบางครั้งอาจจะแยกยากจาก physiologic jaundice เนื่องจากเกิดอยู่ในช่วงอายุ เดียวกัน แต่จำเป็นต้องแยกจากกันเพื่อจะได้ตรวจหาสาเหตุและให้การรักษาต่อไป ลักษณะที่บอกว่าทารกน่าจะเป็น pathologic jaundice ได้แก่ 1. เริ่มเหลืองเมื่ออายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง 2. อัตราการเพิ่มของ bilirubin มากกว่า 5 mg/dL ต่อวัน หรือมากกว่า 0. 2 mg/dL ต่อชั่วโมง 3. ระดับ serum bilirubin มากกว่า 12-15 mg/dL 4. ตัวเหลืองนานเกินกว่า 14 วัน โดยเฉพาะในทารกที่ไม่ได้กินนมแม่ 5. ระดับ conjugated bilirubin มากกว่า 2 mg/dL Pathologic jaundice แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ 1. Conjugated hyperbilirubinemia สาเหตุอาจเป็นจากนอกตับ (extrahepatic) เช่น biliary atresia, choledochal cyst และ สาเหตุจากในตับ (intrahepatic) เช่น neonatal hepatitis, congenital infection (TORCH) เป็นต้น 2. Unconjugated hyperbilirubinemia มีสาเหตุที่พบบ่อยและควรทราบ ได้แก่ 2. 1 มีการสร้าง bilirubin เพิ่มขึ้น 2. 1. 1 ภาวะ hemolysis เช่น ABO, Rh, minor blood group incompatibility, G6PD deficiency 2. 2 การมีเลือดออกในร่างกาย เช่น cephalhematoma หรือ hematoma ใน บริเวณอี่น หรือเลือดออกในลำไส้ 2.

Pathological Jaundices ภาวะตัวเหลืองที่ผิดปกติเกิดได้จากหลายสาเหตุดังต่อไปนี้ 2.

มีสาเหตุมาจากอะไร? อาหารช่วยลดความดันโลหิตในเด็ก ต้องทานอะไรดีถึงจะช่วยได้? ธาลัสซีเมีย พ่อแม่เป็นพาหะธาลัสซีเมีย ผลกระทบของธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ ทารกในครรภ์เสี่ยงแค่ไหน ที่มา: 1, 2, 3, 4 มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

2. Pathologic jaundice - โครงงานพัฒนาคุณภาพการพยาบาล

polycythemia newborn รักษา icd 10 code

ภาวะตัวเหลืองในเด็กทารกแรกเกิด สาเหตุ 2 กลุ่ม 1. Unconjugated hyperbilirubinemia มีสาเหตุที่พบบอย ไดแก 1. 1 การสราง bilirubin เพิ่มขึ้น -ภาวะ hemolysis เชน ABO, Rh, minor blood group incompatibility G6PD deficiency -การมีเลือดออกในรางกาย เชน cephalhematoma หรือ hematoma ในบริเวณอี่น หรือ เลือดออกในลําไส -มีภาวะเลือดขน (polycythemia) 1. 2 enterohepatic circulation เพิ่มขึ้น -การงดอาหาร -กิน ได้น้อย เช่น ไม่ค่อยดูด น้ำนมแม่ไม่ค่อยมี -Bowel ileus, gut obstruction 1. 3 ตับขจัด bilirubin ไดนอย -prematurity -G6PD difficiency -Inborn error of metabolism เชน Crigler-Najjar, Gilbert's syndrome, Galactosemia -Hypothyroidism -Sepsis njugated hyperbilirubinemia 2. 1 นอกตับ เช่น biliary atresia, choledochal cyst 2. 2 ในตับ เช่น neonatal hepatitis, congenital infection (TORCH) เปนตน การรักษา การส่องไฟ ข้อบ่งชี้ 1) ในทารกที่อายุครรภ 35 สัปดาหขึ้นไป พิจารณาตาม -อายุครรภทารกอายุหลังเกิดเปนชั่วโมง -ปจจัยเสี่ยงของทารก แบ่ง 3 กลุ่ม 1. เสี่ยงต่ำ ดูเส้นจุด GA >= 38 wk และ แข็งแรงดี 2. เสี่ยงปานกลาง ดูเส้นประ GA = 35-37 +6 wk และ แข็งแรงดี GA >= 38 wk และ มี risk factors 3.

3 มีภาวะเลือดข้น (polycythemia) 2. 2 มี enterohepatic circulation เพิ่มขึ้น เช่น 2. 2. 1 การงดอาหารหรือได้รับอาหารทางลำไส้น้อย 2. 2 ลำไส้เคลื่อนไหวน้อยหรือมีการอุดตัน ( bowel ileus/ obstruction) 2. 3 ตับขจัด bilirubin ได้น้อยกว่าปกติ เช่น 2. 3. 1 ทารกคลอดก่อนกำหนด 2. 2 G6PD deficiency 2. 3 Inborn error of metabolism เช่น Crigler-Najjar, Gilbert's syndrome, Galactosemia 2. 4 Hypothyroidism 2. 5 Sepsis สาเหตุของ pathologic jaundice ที่พบบ่อย ได้แก่ hemolysis, G6PD และภาวะตัวเหลืองที่สัมพันธ์กับการกินนมแม่ Hemolytic disease of the newborn ( HDN) เป็นภาวะที่มีการแตกทำลายของเม็ดเลือดแดง ( hemolysis) มากผิดปกติ เป็นผลให้ทารกมีอาการซีดและตัวเหลืองกว่า ปกติ สาเหตุเกิดจากมารดาและทารกมีหมู่เลือดที่ไม่ตรงกันและมี IgG antibody ที่ผ่านจากมารดาไปสู่ทารกทำให้เกิด hemolysis ในทารก อาจเป็น ABO, Rh หรือ minor blood group incompatibility 1.

อดิศร์ อิงคตานุวัฒน์ กุมารแพทย์ ศูนย์กุมารเวช โรงพยาบาลเปาโล โชคชัย 4 ข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 02-514-4141 ต่อ 3220 – 3221

polycythemia newborn รักษา pictures

เสี่ยงสูง ดูเส้นทึบ GA = 35-37 +6 wk และ มี risk factors Risk factors ไดแก -isoimmune hemolytic disease (ABO, Rh, minor blood group incompatibility), -G6PD deficiency, -asphyxia (Apgar score ที่ 5 นาที < 7 หรือ มีอาการเชน hypoxic ischemic encephalopathy, renal impairment), -significant lethargy. -temperature instability, -sepsis, -acidosis, -albumin < 3. 0 g/dL 2) ในทารกอายุครรภนอยกวา 35 สัปดาหหรือน้ําหนักตัวนอย ระดับ serum bilirubin ที่ควรเริ่มใหการรักษาในทารกทารกคลอดกอนกําหนดหรือน้ําหนักตัวนอย น้ําหนักตัว (กรัม) การรักษา Phototherapy ควรเริ่มเมื่อ ระดับ serum bilirubin อยูที่ 50-70% ของระดับในตาราง Exchange transfusion ควรทําเมื่อ -ระดับ serum bilirubin สูงกวา ระดับในตาราง -phototherapy ไม่สามารถลดให้ต่ำกว่าระดับในตารางได้ -มีอาการ bilirubin encephalopathy น้ำหนักตัว Serum bilirubin level (mg/dl) Serum bilirubin level (mg/dl) gm. ทารกปกติ (uncomplicated) ทารกปวย (complicated*) <1000 12-13 10-12 1001-1250 12-14 10-12 1251-1499 14-16 12-14 1500-1999 16-20 15-17 2000-2500 20-22 18-20 ทารกปวย: perinatal asphyxia, acidosis, hypoxia, hypothermia, hypoalbuminemia, meningitis, intraventricular hemorrhage, intraventricular hemorrhage, hemolysis, hypoglycemia, bilrubin encephalopathy ref.