ทฤษฎี องค์การ 7S, 7S ของMckinsey สู่การปฏิบัติงานโลจิสติกส์ | รถบรรทุก รถบัส Bus&Amp;Truck : Thailand #1 Commercial Vehicle Fortnighty Newspaper เว็บไซด์เพื่อชาวรถใหญ่ รถบัส รถบรรทุก ศูนย์รวมข่าวสารวงการ รถบัส รถบรรทุก รถมือสอง ออโต้เซอร์วิส

ประต-รว-เหลก-ราคา

9 พ. ย. 2021 เวลา 15:24 • ธุรกิจ Mckinsey's 7s Framework ที่คนคิดไม่ได้ชื่อ Mckinsey หลายคนมักเข้าใจว่า ทฤษฎี Mckinsey's 7s Framework เป็นของ นักคิดชื่อ Mckincy จึงมักเรียกทฤษฎีนี้ว่า "7S ของ Mckinsey" โดยแท้จริงแล้ว แนวคิดการบริหารการวางแผนกลยุทธขององค์กรนี้ ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้งแรกในปี ค. ศ.

ทฤษฎีองค์การและการจัดการเชิงกลยุทธ์ชั้นสูง: 7'S Framework

ทฤษฎี องค์การ 7.3

[Ezy Management ] Mckinsey's 7s Framework ที่คนคิดไม่ได้ชื่อ Mckinsey

  • ทฤษฎีองค์การ 7s pdf
  • กลยุทธ์ 7s คืออะไร? 7s McKinsey Framework - GreedisGoods
  • ทฤษฎี องค์การ 75 en ligne depuis

7s ของMcKinsey สู่การปฏิบัติงานโลจิสติกส์ | รถบรรทุก รถบัส BUS&TRUCK : Thailand #1 Commercial Vehicle Fortnighty Newspaper เว็บไซด์เพื่อชาวรถใหญ่ รถบัส รถบรรทุก ศูนย์รวมข่าวสารวงการ รถบัส รถบรรทุก รถมือสอง ออโต้เซอร์วิส

ทฤษฎี องค์การ 75 en ligne depuis

ทฤษฎี องค์การ 75 en ligne

ทฤษฎี องค์การ 7.8

System (ระบบ) หมายถึง กระบวนการและลำดับขั้นการปฎิบัติงานทุกอย่าง ที่เป็นระบบที่ต่อเนื่องสอดคล้องประสานกันทุกระดับ การวางระบบงาน ระบบสายงานการผลิต รวมถึงระบบการควบคุมบังคับบัญชา 6. Skill (ทักษะ) หมายถึง ความโดดเด่น ความเชี่ยวชาญในการผลิต การขาย การให้บริการ พนักงานมีทักษะในการทำงานหรือไม่ มีการพัฒนาฝีมือให้กับพนักงานอย่างไร มีแบบแผนอย่างไร และ 7. Shared value (ค่านิยมร่วม) ส่วนนี้ถือเป็นส่วนที่สำคัญ และมักจะเป็นใจกลางของรูปแบบการวางกลยุทธ การมีค่านิยมร่วมกันระหว่างคนในองค์การ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ความเชื่อร่วมกันในหน่วยงาน เป็นเรื่องที่ในทุกๆองค์กรต้องมี เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายไปพร้อมๆกัน สรุป McKincy's7S Framework เป็นเครื่องมือในการวางกลยุทธองค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ และโดยได้รับการออกแบบโดย สองนักคิด คือ Robert Waterman, Tom Peter and Julien Phillips ซึ่งทำงานอยู่ในบริษัทที่ปรึกษา บ. McKincy&Company consulting จึงเป็นที่มาของชื่อ Mckinsey's7S Framework เรียบเรียงโดย สิปป์ณรงค์ กาญจนาวงศ์ไพศาล
Structure (โครงสร้างองค์กร) หมายถึง ลักษณะโครงสร้างขององค์การที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ รวมถึงขนาดการควบคุม การรวมอำนาจ และการกระจายอำนาจของผู้บริหาร การแบ่งโครงสร้างงานตามหน้าที่ ตามผลิตภัณฑ์ ตามลูกค้าตามภูมิภาคได้อย่างเหมาะสม โครงสร้างองค์กรมีความยืดหยุ่นมากน้อยเพียงไร ถ้าไม่ยืดหยุ่นหรือมีความยืดหยุ่นน้อย โอกาสความสำเร็จก็มีน้อย 2. Strategy (กลยุทธ์) หมายถึง การวางแผนเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมการพิจารณา จุดแข็ง จุดอ่อนของกิจการ โดยพิจารณาว่าองค์กรมีการกำหนดกลยุทธ์ที่ชัดเจนหรือไม่ และกลยุทธ์นั้นกระจายออกไปใน sector ต่างๆ หรือไม่ โดยส่วนนี้หลายองค์การมักใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ องค์กร เช่น SWOT Analysis หรือเอา strategy กระจายออกมาเป็น BSC เลย เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ 3. Staff บุคลากร (การจัดการบุคคลเข้าทำงาน) หมายถึง การคัดเลือกบุคลากรที่มีความสามารถ การพัฒนาบุคคลากรอย่างต่อเนื่อง พนักงานมีคุณภาพมากน้อยแค่ไหน การเข้ามาหรือการเติบโตในองค์การโดยใช้ระบบเส้นสายพรรคพวกหรือไม่การวางงานให้เหมาะสมกับบุคคลเป็นอย่างไร 4. (Managerial) style (รูปแบบ) หมายถึง การจัดการที่มีรูปแบบวิธีที่เหมาะสมกับลักษณะองค์การ เช่น การสั่งการ การควบคุม การจูงใจ สะท้อนถึงวัฒนธรรมองค์การ สไตล์การบริหารเป็นอย่างไร โดยสไตล์ในการบริหารมักจะเป็นไปในรูปแบบเฉพาะของแต่ละองค์กร ซึ่งสไตล์ในการทำงานของผู้บริหารนั้น มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง จะมีอิทธิพลต่อความรู้สึกนึกคิดของพนักงานในองค์กรมากกว่าคำพูดของผู้บริหาร 5.